ไขมันเกาะตับ พบทางออกด้วย UMI

ภาวะไขมันเกาะตับ พบทางออกด้วย AGEL-UMI

page-7-8

การจะวัดว่าใครอ้วนหรือไม่อาจจะวัดด้วยสายตาซึ่งเป็นการบอกอย่างคร่าวๆ การจะบอกว่าอ้วนหรือไม่จะใช้ดัชนีมวลกายเป็นตัวบอก คนฝรั่งจะบอกว่าอ้วนเมื่อดัชนีมวลกายมากกว่า 30 ส่วนชาวไทยจะบอกว่าอ้วนเมื่อดัชนีมวลกายมากกว่า 25 อ่านรายละเอียดที่นี่ โดยพบว่าผู้ที่เป็นเบาหวาน ไขมันสูงและอ้วนจะมีโอกาสเป็นโรคไขมันพอกตับ มีการประเมินว่าสามารถพบโรคไขมันพอกตับได้ร้อยละ 20ของประชากร ส่วนกลุ่มเสี่ยงเช่นคนอ้วนที่เป็นเบาหวาน ไขมันสูงพบว่าไขมันพอกตับได้ถึงร้อยละ 90 ต่างประเทศได้ศึกษาถึงความสัมพันธ์ของดัชนีมวลกาย และความเสี่ยงของการเกิดไขมันพอกตับไว้ดังนี้
ความสัมพันธ์ระหว่างดัชนีมวลกายและความเสี่ยงไขมันพอกตับเมื่อเทียบกับคนปกติ
ดัชนีมวลกาย
ความเสี่ยง
25-30
2
30-35
4
35-40
5
มากว่า40
6

สำหรับผู้หญิงก็มีอัตราเสี่ยงต่อการเกิดดังนี้

ความสัมพันธ์ระหว่างดัชนีมวลกายและความเสี่ยงไขมันพอกตับเมื่อเทียบกับคนปกติ
ดัชนีมวลกาย
ความเสี่ยง
25-30
2
30-35
2.5
35-40
4
มากว่า40
5

กลไกการเกิดไขมันพอกตับ

ในคนปกติระดับน้ำตาลจะถูกควบคุมโดยอินซูลินซึ่งผลิตมาจากตับอ่อน เมื่อน้ำตาลในเลือดสูง ตับอ่อนจะหลั่งอินซูลินออกมากมากขึ้น โดยอินซูลินจะออกฤทธิ์ที่ตับ กล้ามเนื้อและเซลล์ไขมันเพื่อให้ใช้น้ำตาล

ในภาวะที่ดื้อต่ออินซูลินซึ่งอาจจะเกิดจากกรรมพันธุ์หรือจากพฤติกรรมเช่น อ้วน ไม่ออกกำลังกาย รับประทานอาหารที่มีน้ำตาลหรือไขมันมาก จะทำให้เซลล์ต่างๆไม่ตอบสนองต่ออินซูลินในขนาดปกติ ทำให้ตับอ่อนต้องผลิตอินซูลินเพิ่มมากขึ้นเพื่อรักษาระดับน้ำตาลในเลือดให้คงที่ เมื่อภาวะดื้อต่ออินซูลินเพิ่มมากขึ้นจนกระทั่งตับอ่อนไม่สามารถสร้างอินซูลินได้อย่างเพียงพอจึงเกิดโรคเบาหวานชนิดที่2 ซึ่งเมื่อเป็นมากจนกระทั่งต้องฉีดอินซูลิน

ภาวะดื้อต่ออินซูลินเกิดจากกรรมพันธุ์ แต่เมื่อโตขึ้นร่างกายอ้วนขึ้นรับประทานอาหารที่มีแป้งเพิ่มขึ้นรวมทั้งไม่ได้ออกกำลังกายทำให้เกิดภาวะดื้อต่ออินซูลินเพิ่มมากขึ้น ทำให้ตับมีการสะสมไขมันเพิ่มมากขึ้น

01-liver-xray-TS-183531855

อาการของไขมันพอกตับ

อาการของไขมันพอกตับทั้ง NAFLD และ NASH จะเหมือนกัน ผู้ป่วยส่วนใหญ่ไม่มีอาการ อาจจะมีอาการปวดแน่นชายโครงข้างขวาค่อยเป็นค่อยไป นอกจากนั้นอาจจะพบว่าเป็นเบาหวาน อ้วน ไขมันในเลือดสูง แต่เมื่อกลา่ยเป็นตับแข็งก็จะเกิดอาการของตับแข็ง อาการทั่วไปมีดังนี้

  • อ่อนเพลีย
  • เบื่ออาหาร น้ำหนักลด
  • ไม่มีแรง
  • คลื่นไส้อาเจียน
  • ปวดชายโครงข้างขวา
  • ตับโต
  • ปัสสาวะเหลืองเข้ม

การวินิจฉัยโรคทำได้อย่างไร

ส่วนใหญ่พบโดยบังเอิญเจาะเลือดตรวจการทำงานของตับพบว่ามีค่า SGPT, SGOT สูงโดยที่ค่าอื่นปกติ และเจาะเลือดตรวจไม่พบหลักฐานการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ หรือมีประวัติการดื่มสุรา ประวัติการใช้ยาอย่างต่อเนื่องของยากลุ่ม prednisone, amiodarone (Cordarone), tamoxifen (Nolvadex), methotrexate (Rheumatrex, Trexall), and nonsteroidal anti-inflammatory drugs (NSAIDS). การตรวจ ultrasound ก็จะช่วยในการวินิจฉัย สรุปการวินิจฉัยไขมันเกาะตับต้องประกอบไปด้วย

  1. มีอาการหรืออาการแสดงว่าเกิดภาวะดื้อต่ออินซูลิน เช่น อ้วนโดยมีดัชนีมวลกายมากกว่า 25 ,รอบเอวมากกว่า 36 ,นิ้วในชาย 32 นิ้วในหญิง, triglyceride >150 mg%,ความดันโลหิตสูง
  2. การตรวจตับพบว่าค่า SGOT,SGPT สูง
  3. ตรวจ ultrasound พบลักษณะเหมือนตับแข็ง
  4. ต้องแยกโรคอื่นเช่นตับอักเสบบี สุรา ยา
  5. การเจาะตับเพื่อการวินิจฉัยยังไม่เป็นที่ตกลงว่าสมควรจะทำเมื่อใดเพราะการรักษายังไม่มียาเฉพาะ

การรักษา

  • การควบคุมน้ำหนักให้เข้าสู่เกณฑ์ปกติ
  • การออกกำลังกาย
  • การรักษาไขมันในเลือดให้ใกล้เคียงปกติมากที่สุด
  • หลีกเลี่ยงการดื่มสุรา

การใช้ยารักษา

จนถึงปัจจุบันยังไม่มียาที่รักษาได้ผลดีจริงเท่าที่มีการทดลองและพอจะได้ผลดีได้แก่

  • ยาที่เพิ่มความไวต่ออินซูลิน Insulin-sensitizing agents, เช่น pioglitazone และ rosiglitazone (Avandia), และ metformin (Glucophage)
  • Anti-TNFa agents , such as infliximab (Remicade)
  • ยาเพิ่มการไหลเวียนของเลือด such as pentoxifylline (Trental)
  • ยาต้านอนุมูลอิสระ, เช่น vitamin E, betaine, and s-adenosylmethionine (SAMe).

แล้วคุณจะทานยาไปทั้งชีวิตหรือไม่

ทุกปัญหาย่อมมีทางออกเคสไขมันเกาะตับ 

umi-contact

button_buy