เมตาบอลิก ซินโดรม คือ กลุ่มความผิดปกติของการกินและใช้พลังงาน จากสาร
อาหารในร่างกาย เป็นเหตุให้มีการสะสมของไขมันเพิ่มขึ้น จนเกิด “ภาวะอ้วนลงพุง”
เป็นปัจจัยเสี่ยงต่อ การเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด สุดท้ายกลายเป็นโรคเบาหวาน
ถาวร
คุณจะทราบได้อย่างไรว่าคุณเป็นโรคเมตาบอบิก ซินโดรมที่เกิดจาก”ภาวะอ้วนลงพุง”
…แต่ในปัจจุบัน พบว่าในเด็กที่ชอบทาน อาหารไขมันสูง เคี้ยวขนมกรุบกรอบ และ
ดื่มน้ำอัดลม ซึ่งมีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคเบาหวาน พบมากถึงร้อยละ 95-97
ของผู้เป็นโรคเบาหวาน ส่วนใหญ่มัก “อ้วนลงพุง” อยู่ในช่วงอายุ มากกว่า 40 ปี
“ตับอ่อน” ยังพอที่จะผลิต “อินซูลิน” ออกมาได้บ้างเล็กน้อย แต่มักจะมีภาวะดื้อต่อ
“อินซูลิน”แต่ยังต้องควบคุมอาหาร หรือ ยาลดระดับน้ำตาล
**แต่ถ้าหากเป็นโรคเบาหวาน เป็นเวลานาน ๆ เซลล์ภายในร่างกายเสื่อมถอยจะทำให้
ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้ และ ไม่ดีพอ อาจต้องฉีด “อินซูลิน” ช่วย(เจ็บคัน)
และ…
ในปัจจุบันพบว่าผู้ป่วยโรคเมตาบอลิก ซินโดรม มักเกิดในเด็กมากขึ้นทุกปี โดยเฉพาะ
เด็กอ้วน และ อ้วนลงพุง สืบเนื่องมาจากการเลี้ยงดูบุตรของแต่ละครอบครัวเปลี่ยนไป
จากเดิมมากเลยที่เดีนว พ่อแม่ฝึกให้ลูกๆ รับประทานอาหารฝรั่งที่มีไขมันสูงมาก เด็ก
ไม่ออกกำลังกาย และ มักจะนั่งหน้าจอโทรทัศน์ หรือ จ้องจอคอมพิวเตอร์เล่นเกมส์
แทนการออกไปวิ่งเล่นกับเพื่อน และ/หรือ การปั่นจักยาน
โรคเมตาบอลิก ซินโดรม เกิดจากพฤติกรรมการบริโภคอาหารไขมันมากเกินไป
และการกินอาหารที่ผิดวิธี ออกกำลังน้อย หรือ ไม่ได้ออกกำลังกายเลย ผู้ที่มีเป็น
“ภาวะอ้วนลงพุง” โรคเมตบอลิก ซินโดรม เกิดได้ทุกเพศ ทุกวัยรวมถึงเด็ก โรคนี้
ก่อให้เกิดการเสี่ยงต่อการเสียชีวิตในเวลาอันสั้น
อีกกรณีหนึ่งตัวเราเองต้องดแล สังเกตุอาการต่างๆ การใช้ชีวิตประจำวันทุกๆวัน
ในแต่ละวันที่มีความรีบเร่ง ในการกิน ในการดื่ม การแข่งขันในสังคมเมือง มีสภาพ
สิ่งแวดล้อมรอบตัว ยากที่จะหลุดพ้นจาก”ภาวะน้ำหนักตัวเกิน” และ ความอ้วนเป็น
จุดเริ่มต้น ที่ก่อให้เกิดโรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง ตีบตันแตกและโรคเบาหวาน
คุณจะทราบได้อย่างไรว่าตัวเราเองเริ่มเป็นโรคเมตาบอลิก ซินโดรม
จากการมี”ภาวะอัวนลงพุง” คุณมีระดับไขมัน LDL สูงปรี๊ด..สังเกตดูว่า
มี 3 ใน 5 ข้อ นี้ หรือ ไม่
1. ความอ้วนในช่องท้อง มีไขมันเยอะมาก มีเส้นรอบเอว 36-40 นิ้ว
2. ระดับไตรกลีเซอร์ไรด์ มีมากกว่า 150 มก./ดล.
3. ระดับโคเลสเตอรอล ชาย น้อยกว่า 40 มก./ดล. หญิง น้อยกว่า 50 มก./ดล.
4. ความดันโลหิตสูง มากกว่าหรือเท่ากับ 130/85 มม.ปรอท
5. ระดับน้ำตาลในเลือด ที่ขณะอดอาหาร อย่างน้อย 8 ชั่วโมง เจาะเลือดปลายนิ้ว
มากกว่า 100 มก./ดล
แล้วคุณจะทราบได้อย่างไรนะว่าตัวคุณเองมีภาวะเมตาบอลิก ซินโดรม
=> ผู้เขียนขอแนะนำแนวทางการปฎิบัติแบบง่าย มาลองให้คุณทำตาม ดังนี้นะคะ
– การวัดรอบเอวระดับสะดือ ถ้ามากกว่า ส่วนสูง แล้วหารด้วย 2
– ก่อนทำการวัดความดันโลหิต ควรต้องนั่งพักก่อน 5 นาที แล้วค่อยวัดความ
ดันโลหิต
**แต่ถ้าเผื่อว่าวัดความดันโลหิต ตัวบน มากกว่า 130 มก./ปรอท ให้รีบไป
เจาะเลือดเวลาใดก็ได้ ส่งตรวจคอเลสเตอรอล(HDL-คอเลสเตอรอล) แต่ถ้ามี
คอเลศเตอรอลน้อยกว่า40-50 มก./ดล.ก็ถือได้ว่าตัวเราเองมีความผิดปกติ
เป็นโรคเมตาบอลิก ซินโดรม
**แต่ถ้ามีความผิดปกติได้ครบทั้ง 5 ข้อข้างต้น ให้งดอาหาร-เครื่องดื่ม 12 ชั่วโมง
แล้วไปเจาะเลือดตรวจระดับไตรกลีเชอไรด์ ถ้าสูงกว่า 150 มก./ดล ระดับน้ำตาล
ในเลือด มากกว่า 100 มก./ดล ถือว่าตัวเราเองมีความผิดปกติ แน่นอนโดยไม่ต้อง
สงสัยอีกหล่ะ
ใครน้อจะเป็นผู้มีความเสี่ยงต่อเมตาบอลิก ซินโรม โปรดตรวจเลือดด่นเลย!!
1. ผู้ที่มีภาวะอ้วนลงพุง
2. ขาดการออกกำลังกาย นั่ง ๆ นอน ๆ ทั้งวัน
3. ผู้ที่รับประทานยาบางชนิด ที่ส่งผลต่อการทำให้มีน้ำหนักเกิน ความดันโลหิตสูง
คอเลสเตอรอลในเลือดสูง และ ระดับน้ำตาลในเลือดสูง ยาบางกลุ่มที่ใช้ดูแล อาการ
อักเสบ ยาแก้ปวด สเตีนตอยด์ ยาภูมิแพ้ ยาโรคเดส์ และ ยาจิตเวช
ภาวะแทรกซัอนของโรคเมตาบอลิก ซินโดรม
มักเป็นเรื่อง ร้ายแรงหรือเรื้อรัง ที่เกี่ยวข้องกับ โรคหัวใจและโรคหลอดเลือดสมอง
1. การแข็งตัวของหลอดเลือดแดง
2. โรคเบาหวาน
3. โรคหัวใจ
4. โรคไต
5. โรคไขมันพอกตับ
6. โรคหลอดเลือดหัวใจ ตีบ ตัน กล้ามเนื้อตาย หรือ ขาดเลือด
7. โรคหลอดเลือดสมองอุด ตัน ทำใหสมองขาดเลือด น่งผลทำให้เกิดอัมพาต
อัมพฤกษ์ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันเกาะตับ นิ่วในถุงน้ำดี “หยุดหายใจ
ในขณะนอนหลับ”
แต่ถ้าหากเป็นโรคเบาหวานเกิดการพัฒนา อาจมีความเสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อน
ต่อสุขภาพ ของคนได้บ่อยและเรื้อรัง
– ทำให้สานเสื่อมและเสียหายได้
– ความผิดปกติของเส้นประสาท
– โรคไต
– ถึงคราวต้องตัดแขนตัดขา
การดูแลปัองกันการเกิดโรคเมตาบอลิก ซินโดรม
เน้นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการกิน และการออกกำลังกาย
1. การกินอาหารกินอาหารที่ให้พลังงานน้อย คือใช้พลังงานจากการออกกำลังกาย
มากกว่าพลังงานที่กินจากอาหาร
2. ลดปริมาณข้าว แป้ง น้ำตาล ไขมันในอาหาร และ เครื่องดื่ม
3. หลีกเลี่ยงการใช้น้ำมัน หรือไขมัในการปรุงอาหาร
4. รับประทานเนื้อสัตว์ขาว เนื้อปลา เนื้ออกไก่
5. หลีกเลี่ยงการรับประทาน อาหารทอด ผัดไทย ข้าวผัด ผัดซีอิ้ว ฟาสต์ฟู้ด
6. งดรับประทานอาหารระหว่างดูทีวี
7. หลีกเลี่ยงการรับประทาน ขนมหวาน และน้ำอัดลม และ นมเปรี้ยว
8. หลีกเลี่ยงการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล
การใช้ชีวิตประจำวันมีความจำเป็น ต้องการออกกำลังกาย อย่างสม่ำเสมอ
– การเริ่มออกกำลัง เริ่มจากการเดิน เดินเร็ว ปั่นจักรยาน อย่างน้อย 40 นาที
– เพิ่มการทำงานบ้าน การถูบ้าน ซักผ้า ล้างรถ เดินขึ้นบันได ปั่นจักรยานไปทำงาน
– ดูแลน้ำหนัก ตัว โดยการชั่งน้ำหนักประจำทุกสัปดาห์
– ตื่นเช้า หลังถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ แล้วก่อนกินอาหาร ควรดื่มน้ำสะอาด
ก่อนรับประทานอาหารเช้า
ความเครียดส่งผลผลต่อการเกิด เมตาบอลิก ซินโดรม
ความเครียดเรื้อรัง ปล่อยให้ยืดเยื้อ ส่งผลต่อการเกิดโรคเมตาบอลิกซึม ซินโดรม
จะเข้าไปรบกวนความสมดุลของฮอร์โมนในแกนไต ทำให้ “ไต” ผิดปกติ ระบบการ
หมุนเวียน การเพิ่มน้ำตาลกลูโครส และ อินซูลิน จะก่อให้เกิดผลกระทบต่ออินซูลิน
ในเนื้อเยื่อไขมัน สุดท้ายส่งเสริมให้เกิด ความอ้วนภายในอวัยวะภายใน เกิดความ
ต้านทานต่ออินซูลิน”ในภาวะไขมันผิดปกติ” ทำให้มีความดันโลหิตสูงขึ้น มีผลต่อ
“กระดูก” ทำให้ “กระดูกพรุน”
**จะทำให้ร่างกายมีภาวะแทรกช้อน โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคเบาหวาน โรคหลอด
เลือดสมอง
**จิตที่เกิดจากความเครียดสามารถ เชื่อมโยงกับ โรคหัวใจ การป้องกันภาวะโรค
เมตาบอลิก ซินโดรม จะต้องมีการตรวจร่างกาย เป็นประจำ คุณสามารถวัดความ
ดันโลหิต ด้วยตัวเอง และ การทำงาน ของเลือด ที่สมบูรณ์ บอกถึงการเกิดโรค
เมตาบอลิกซึม ซินโดรม ในช่วงแรกจะช่วยลดภาวะแทรกซ้อนทางสุขภาพในระยะยาว
ประสบการณ์ใช้ผลิตภัณฑ์ AGEL HRT และ UMI
ประสบการณ์ใช้ผลิตภัณฑ์ AGEL HRT
ที่เป็นโรคกล้ามเนื้อหัวใจอ่อนแรงและลิ้นหัวใจรั่ว
ผลิตภัณฑ์ AGEL HRT และ UMI ขายดีที่สุด
ปรึกษาโดยผู้เชี่ยวชาญด้านผลิตภัณฑ์
www.gelcremo.com