กินไม่เป็นระวังโรคระบบทางเดินอาหาร
การทำงานของระบบทางเดินอาหาร เป็นการย่อยอย่างไม่มีประสิทธิภาพ เกิดจากการรีบเร่ง
กินอาหาร รีบเคี้ยวรีบกลืน หรือ กินอาหารปริมาณมากเกินไป ทำให้เสียเวลา ในกระบวน
การย่อยนานๆ เพราะเอนไซม์ในน้ำลายย่อยอาหาร ไม่ทันยังทำให้น้ำย่อยในกระเพาะหลั่งน้ำ
ย่อยได้น้อยลง เพราะเป็นตัวดูดซับน้ำไว้ เมื่ออาหารพองตัวขึ้นจะทำให้ท้องอืด จะเกิดอาการ
จุกแน่น
การออกกำลังกายหลังการกินอาหาร ก็เป็นสิ่งที่ไม่ควรทำเพราะจะทำให้เลือดไปเลี้ยงระบบ
การย่อยอาหาร ถูกดึงไปเลี้ยงกล้ามเนื้อแทน ทำให้เลือดไปเลี้ยงระบบย่อยไม่เพียงพอ ทำให้
เกิดอาหารไม่ย่อย จะทำให้ท้องอืด มีกรดไหลย้อย กลายเป็นกระเพาะอาหาร ลำไส้แปรปรวน
ลำไส้อักเสบ ลำไส้อักเสบเรื้อรัง มะเร็งกระเพาะอาหาร มะเร็งลำไส้เล็ง มะเร็งลำไส้ใหญ่ และ
มะเร็งทวารหนัก
ระบบทางเดินอาหาร
ระบบระบบทางเดินอาหาร เป็นระบบที่ซับซ้อน มีการทํางานหลากหลาย มีการเคลื่อนไหว
การคัดหลั่ง การย่อย การดูดซึมสารอาหาร การขับถ่ายกากอาหาร ที่ไม่ย่อยผ่านผนัง
ของท่อทางเดินอาหาร เข้ากระแสโลหิต และ การกําจัด ผลิตสารอาหาร เป็นการทํางาน
โดยอัตโนมัติ อยู่นอกเหนืออำนาจจิตใจ
1. ปาก
ระบบการทางเดินอาหาร ปากบดเคี้ยวอาหารด้วยฟัน คลุกเคล้าอาหารด้วยลิ้น ย่อยแป้ง
ให้เป็นน้ำตาล ย่อยจากน้ำลาย การรับรู้รส การหลั่งน้ำลาย ระบบทางเดินอาหารจะทำการ
ย่อยอาหาร ต่อไปนี้
A. เมื่ออาหารเข้าปาก
– ฟันจะทำหน้าที่บดเคี๊ยวให้อาหารมีขนาดเล็กลง
– น้ำลายจาก ต่อมน้ำลาย ช่วยย่อยอาหาร แป้ง ให้เป็น น้ำตาล น้ำลายจะเปลี่ยนแป้ง
ให้เป็นแป้งเล็กลง และ น้ำตาล
– เอนไซม์ในน้ำลาย เป็นโปรตีน เซลล์จะสร้างขี้นมา ทำหน้าที่ช่วยเร่งให้น้ำลายเปลี่ยนแป้ง
B. หลังจากกลืนอาหาร อาหารจะลงสู่หลอดอาหารเข้าสู่กระเพาะอาหาร
– ขณะที่ไม่มีอาหารอยู่ กระเพราะอาหารจะมีขนาดใหญ่ เมื่อมีอาหารกระเพาะอาหาร
จะขยายขนาดได้ 10-40 เท่า
– ตอนที่กระเพาะอาหารว่าง กระเพาะอาหารจะสร้างเอนไซม์ กรดไฮโดรคลอริก ออก
มาเล็กน้อย เมื่ออาหารเข้าสู่กระเพาะอาหาร จะสร้างเอมไซม์ กรดไฮโดรคลอริก มาก
ขึ้น ใช้ในการทางเดินอาหาร เอมไซน์จะทำหน้าที่ย่อยโปรตีน ให้มีขนาดเล็กลง แต่ยัง
ไม่เล็กที่สุด ที่จะสามารถแพร่เข้าสู่เซลล์ได้.
C. อาหารจะเคลื่อนที่ต่อไปยังลำไส้เล็ก ซึ่งลำไส้เล็กมีผนังไม่เรียบเป็นปุ่มปม
ในระบบทางเดินอาหาร ที่ลำไส้เล็กมีเอนไซม์ ที่ช่วยในการย่อยหลายชนิด บางชนิด
ลำไส้เล็ก เป็นผู้สร้างขึ้น เอ็นไซม์บางชนิดตับอ่อนเป็นผู้ผลิตออกมา
2. หลอดอาหาร
ระบบทางเดินอาหาร มีหลอดอาหารยาว ต่อจากคอหอยผ่านคอ ทรวง อก ทะลุบังลม
ผนังของหลอดอาหาร เป็นกล้ามเนื้อเรียบ หลอดอาหารเป็นทางผ่านของอาหาร ลงสู่
กระเพาะอาหาร ไม่มีต่อมสร้างน้ำย่อย แต่มีต่อมขับน้ำเมือก ช่วยหล่อลื่นอาหาร
ให้ผ่านได้สะดวก
3. กระเพาะอาหาร
ระะทางเดินอาหาร ที่เป็นกระเพาะอาหาร อยู่ในส่วนบนของช่องท้อง เหนือระดับสะดือ
ปลายบนกว้าง ปลายล่างเรียวแคบทอดลงล่างไปทางขวา ปลายสุดมีกล้ามเนื้อหูรู และ
หนา อยู่ระหว่างปลายของหลอดอาหารกับลำไส้เล็ก เป็นที่รับอาหารหลั่งน้ำย่อยอาหาร
“ทำให้อาหารเป็นของเหลวเหนียวๆ” จากนั้นกระเพาะอาหารส่งของเหลว และ เหนียว ๆ
ไปยังลำไส้เล็กภายในช่องท้อง เยื่อเมือกของกระเพาะอาหารมีต่อมสร้างกรดเกลืออ่อนๆ
และน้ำ ย่อยอาหารประเภทโปรตีน ทางเดินอาหารภายในช่องท้อง ทางเดินอาหารภาย
ในช่องท้อง กระเพาะอาหาร ผลิตกรดไฮโดรคลอริก น้ำย่อยอาหารประเภทโปรตีน และ
น้ำเมือก ที่ช่วยเคลือบ ผนังชั้นใน กระเพาะอาหาร.
4. ลำไส้เล็ก
ระบบทางเดินอาหาร ที่เป็นลำไส้เล็ก มีความยาว ประมาณ 7-8 เมตร ลำไส้เล็กเป็นท่อ
ขนาดเล็ก ต่อจากกระเพาะอาหาร เป็นก้อนลำไส้ใหญ่ ลำไส้เล็กทําหน้าที่ในการย่อย
อาหาร ดูดซึมอาหารที่ย่อยจนกลายเป็นสารอาหาร คือ ลำไส้เล็ก ผลิตน้ำย่อยที่ย่อย
คาร์โบไฮเดรต โปรตีน และ ไขมัน และ ดูดซึมสารอาหารเข้าสู่เซลล์
5. ลำไส้ใหญ่
ระบบทางเดินอาหาร ที่เป็นลำไส้ใหญ่ เป็นอวัยวะสุดท้าย ในระบบการทางเดินอาหาร ก่อน
ที่กากอาหารจะถูกกำจัด ออกทางทวารหนัก ลำไส้ใหญ่ ดูดน้ำ แร่ธาตุ วิตามินบางชนิด และ
กลูโคส ออกจาก กากอาหารเข้าสู่กระแสเลือดส่วนใหญ่จะเป็นน้ำ ทำหน้าที่กำจัดอาหาร
ออกจากร่างกาย ลำใส้ใหญ่ในระบบทางเดินอาหาร
วันนี้มาดูกันว่าระบบทางเดินอาหารของลําไส้ใหญ่
1. ลำไส้ใหญ่ รับกากอาหารที่ย่อยเสร็จ จากลำไส้เล็ก เข้าสู่กระบวนการย่อยอาหาร
2. ดูดซึมน้ำและวิตามินบี 12 ที่แบคที่เรียในลำไส้ใหญ่สร้างขึ้น
3. ดูดซึมแร่ธาตุและกลูโคสที่ยังหลงเหลือกลับเข้าสู่กระแสเลือด
4. ผลักดันกากอาหารสู่ไส้ตรง (ลำไส้ใหญ่ส่วนสุดท้าย) เพื่อขับออกทาง
6. ลำไส้ตรง
ระบบทางเดินอาหาร เมื่อกากอาหารเข้าสู่ลำไส้ตรง ทำให้เกิดความ รู้สึก อยากถ่าย เพราะ
ความดันในไส้ตรง เพิ่มขึ้นเป็นผลทำให้กล้ามเนื้อหูรูด ที่ทวารหนักด้านในทำงานอำนาจจิตใจ
เปิดออก แต่กล้ามเนื้อหูรูดที่ทวารหนักด้านนอกเปิดออก ทำให้ร่างกายต้องการ ถ่ายอุจจาระ
ออกทางทวารหนัก (Anus)
8. ทวารหนัก
ระบบการทางเดินอาหาร จากลำไส้ตรงทอดเฉียงไป รูทวารหนัก ทวารหนักมีหูรูดกล้าม
เนื้อเรียบ และ หูรูดกล้ามเนื้อลาย ทำหน้าที่ ปิดกักกากอาหารไว้ เมื่อต้องการ ขับถ่าย
กากอาหาร หูรูด จะหย่อน ให้กากอาหารผ่าน ออกไปได้ ทวารหนัก ขับถ่ายกากอาหาร
9. ตับ
ระบบการทางเดินอาหาร ตับเป็นอวัยวะภายในที่ใหญ่ที่สุด อยู่ในช่องท้องใต้ชายโครง
ข้างขวา ติดกับด้านใต้ ของกะบังลม และ ผนังทางด้านหน้าของหน้าท้อง มีน้ำหนัก
กิโลกรัมกว่า
ระบบการทางเดินอาหารตับมีหน้าที่ ดังต่อไปนี้
– เก็บน้ำตาลไว้ใช้เป็นพลังงานตามที่ร่างกายต้องการ
– สร้างน้ำดี ช่วยลดกรดในลำไส้ และ ช่วยย่อยอาหารจำพวกไขมัน
– สร้างโปรตีนวิตามิน วิตามินเอ เก็บแร่เหล็ก ที่เกิดจากการที่เม็ดเลือดถูกทำลาย
– สร้างภูมิคุ้มกันเพื่อป้องกัน และ ทำลายสิ่งแปลกปลอมเข้าสู่ร่างกาย
– สร้างสารป้องกันการแข็งตัวของเม็ดเลือดในร่างกาย แต่ถ้ามีบาดแผลจะช่วยให้เลือด
แข็งตัวที่บาดแผล
– กำจัดของเสีย หรือ สารพิษที่ร่างกายไม่ต้องการ คือ โรคเกี่ยวกับตับ ก็มีโรคตับแข็ง
โรคดีตับอักเสบ
ตับยังมีหน้าที่สร้าง และ หลั่งน้ำดี ออกไปทางท่อตับ ตลอดเวลา แต่ปกติน้ำดีจะเข้าสู่
ลำไส้ในขณะที่มีการย่อยอาหาร เท่านั้น น้ำดีจึงถูกนำไปเก็บไว้ที่ถุงน้ำดี มีหน้าที่ ดูดน้ำ
จากน้ำดีไปบ้างก่อน และ มีการหลั่ง น้ำเมือก ออกมาผสมกับน้ำดี จึงทำให้น้ำดีข้นขึ้น
เลือดออกจากกระเพาะอาหาร ลำไส้เล็ก และ ลำไส้ใหญ่ อาหารย่อยมาสู่ตับ ทางหลอด
เลือดดำ และมีหลอดเลือดแดงนำเลือด ที่มีออกซิเจนมาสู่ตับ ด้วยหลอดเลือดดำ เและ
หลอดเลือดแดง แตกแขนงภายในตับจนถึงระดับเลือดฝอย จากหลอดเลือดฝอย รวม
เป็นหลอดเลือดดำ ออกจากตับไปสู่หัวใจ
เลือดดำนำอาหารที่ย่อยแล้วสู่ตับ ตับมีหน้าที่ทำลายพิษบางอย่างที่มากับอาหาร เปลี่ยน
น้ำตาลกลูโคส เป็นไกลโคเจน และ เปลี่ยนไกลโคเจนเป็นกลูโคส สู่กระแสโลหิต ได้ดีขึ้น
10. ถุงน้ำดี
ระบบการทางเดินอาหาร ถุงน้ำดี เป็นที่เก็บน้ำดี จากตับติดอยู่ใต้ตับ มีท่อร่วมกับตับ
น้ำดีจากตับทำหน้าที่ในการทำลายสภาพความเป็นกรดในลำไส้ ช่วยย่อยอาหารจำพวก
ไขมัน ถุงน้ำดีอาจจะอักสบ หรือ อุดตัน เนื่องจาก เป็นนิ่วในถุงน้ำดี หรือ ที่ท่อน้ำดี ทำ
ให้เจ็บบริเวณใต้ชายโครงข้างขวา
12. ตับอ่อน
ระบบการทางเดินอาหาร เป็นอวัยวะ ภายในร่างกายที่สำคัญ อยู่ระหว่างลำไส้เล็ก หลัง
กระเพาะอาหาร มีท่อไปเปิดสู่ลำไส้เล็ก ร่วมกับท่อจากถุงน้ำดีและตับ
ระบบการทางเดินอาหารตับอ่อนมีหน้าที่สำคัญ คือ
1. สร้างน้ำย่อย ช่วยในการย่อยแป้ง โปรตีน และไขมัน ภายในลำไส้เล็ก
2. สร้างสารอินซูลิน ช่วยในการควบคุมระดับน้ำตาล
ระบบการทางเดินอาหาร เกิดความผิดปกติ ที่ตับอ่อน จะทำให้การสร้างสารจำพวกอินซูลิน
ลดลง การควบคุมน้ำตาลในร่างกายจะผิดปกติ อาจทำให้เป็นโรคเบาหวาน
ระบบการทางเดินอาหาร มีลักษณะแตกต่างกัน มีการปรับตัวตามหน้าที่ เฉพาะอย่าง
เพื่อให้อาหารผ่านจาก แห่งหนึ่งไปอีก แห่งหนึ่ง เป็นที่เก็บอาหาร หรือ กากอาหาร
กระเพาะอาหาร หรือ ลำไส้ใหญ่ เป็นที่ย่อยอาหาร ในกระเพาะอาหารหรือ ลำไส้เล็ก เป็น
ที่ดูดซึมอาหารที่ย่อยแล้ว.
พัชมีเคส กรดไหลย้อน กลายเป็นมะเร็งในลำไส้ใหญ่และทวานหนัก
อาการแบบไหนใกล้มะเร็งในลำไส้ใญ่
ปกติกล้ามเนื้อมะเร็งในลำไส้ใหญ่ เป็นลักษณะเป็นขดอยู่รอบช่องท้อง ล้อมรอบลำไส้เล็ก
ซึ่งเป็นตัวทำหน้าที่ย่อยอาหาร ส่งกากอาหารมาเก็บสะสมไว้ที่ลำไส้ใหญ่ ระหว่างของเหลว
จะถูกดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือด เหลือแต่กากอาหารหรือของเสีย ที่กล้ามเนื้อลำไส้ผลักดัน
ไปยังทวารหนักเพื่อขับปล่อยออกไปจาก ร่างกายทางอุจจาระ
การที่ลำไส้ต้องสัมผัสกากอาหารและของเสีย ซึ่งเจือปนด้วยสารพิษเป็นเวลานานๆทำให้
ลำไส้บริเวณ นั้นมีอาการผิดปกติ อันเนื่องมาจาก กรด แก๊ส ที่เกิดการหมักหมม ทำให้
เกิดเป็นก้อนเนื้อในผนังลำไส้ เซลล์เกิดการแบ่งตัวผิดปกติ ทำให้ขัดแขวงทางกากอาหาร
เกิดเป็นแผลอักเสบ บวมโตขึ้น อย่าปล่อยให้ลุกลาม จนถึงระยะสุดท้าย เป็นระยะแพร่
กระจาย ไปอวัยวะอื่น ๆ อยากต่อการเยี่ยวยา อาจเสียชีวิตได้
โปรดสังเกตอาการมะเร็งลำไส้ใหญ่ ดะังนี้
1. อุจจาระบ่อย ท้องผูกนาน สีอุจจาระเปลี่ยน
2. รู้สึกเจ็บปวดเวลาขับถ่าย มีเลือดออก
3. มีอาการปวดท้อง ปวดเบ่ง ไม่รู้สาเหตุ
4. คลำก้อนได้ในช่่องท้อง หรือทวารหนัก
5. เบื่ออาหาร น้ำหนักลดลง
6. ร่างกายซูบซีด โลหิตจาง
ปัยจัยเสี่ยงของการเกิดโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนัก
1. อาหารเค็ม
2. อาหารปิ้ง ย่าง จนไหมเกรียม
3. อาหารที่มีไขมันสูง มีกากน้อย หรือเนื้อติดมัน
4. อาหารที่ผสมดินประสิว พวก เบคอน แฮม ไส้กรอก กุ้งแห้ง กะปิ และอาหารหมักดอง
5. เนื้อแดง เนื้อวัว หมู แพะ แกะ
6. อาหารที่มีเชื้อรา พริกแห้ง พริกป่น ถั่วลิสงป่น น้ำผลไม้
การรักษาในปัจจุบัน
แผนปัจจุบัน ด้วยวิธีการผ่าตัด เคมีบำบัด ฉายแสง ขึ้นกับตำแหน่ง ระยะการเจ็บป่วย
และ ดุลพินิจชองแพทย์
https://www.youtube.com/watch?v=IA2Ryw5oh-M
ข้อความ ข้อความคิดเห็น
ปรึกษาโดยผู้เชี่ยวชาญด้านผลิตภัณฑ์
www.gelcremo.com